Siblings Yuko and Shin Kibayashi move the market with a fluid pen
By FELICITY HUGHESS
pecial to The Japan Times
Hearing a 2001 Mont-Perat described as "just like a rock concert by Queen" is enough to make any self-respecting Frenchman expel a snort of derision from his finely-tuned nostrils.
Long popular in Japan, "Kami no Shizuku" is now being translated into French as "Les Gouttes de Dieu." © GLENAT
But the enormous impact the wine manga "Kami no Shizuku (The Drops of the Gods)" has had on wine sales across Asia cannot be shrugged off with a boff of Gallic unconcern. Just two days after the issue with that particular comment came out, a Taiwanese importer sold 50 cases of Mont-Perat.
Thus, when the French version — titled "Les Gouttes de Dieu" — was published in France last week, it came out in a storm of media attention.
"We had a team from French TV in Japan for the last month interviewing the authors for a report on the increasing sales of wine in Japan, which — due to 'The Drops of the Gods' — are said to be up by more than 20 percent," says Stephane Ferrand of Glenat, the manga's publisher. The camera crew are just packing away their gear when The Japan Times arrives to interview the authors, siblings Yuko and Shin Kibayashi, who cowrite the manga under the pen name of Tadashi Agi.
The interview takes place at Shin's house, which in a way embodies the spirit of the manga itself by combining classical European features with a contemporary edge: A grand piano sits in one corner of the room, while at the other end is a gigantic screen for viewing movies.
"Most young Japanese children have no contact with European culture, but we had a lot of influences when we were growing up," says a relaxed Shin, his arm across the back of a grand leather couch designed to seat around 15. "Our mother was an artist and our grandfather taught us about French cuisine. When we were in kindergarten, he took us to French restaurants."
This is the room where the pair plot each installment of the manga, which has been published weekly in Morning magazine since 2004, and regularly hold wine-tasting parties.
Prior to working with his sister, Shin was in television. He has the easy charisma of someone used to dealing with the media. Yuko is also unruffled by press attention. Dressed casually and attractively, her makeup discrete, she radiates poise and authority. They obviously work well together, her gravitas providing the counterweight to his bubbling enthusiasm.
"While we are drinking wine, we play a kind of game to try to find an unusual phrase that sums up the experience, not using the sort of language a sommelier would use, but using images to make it sound more delicious," explains Yuko. "For example, is it a male or female wine?"
The two main characters of the comic book have their own personalities based on wine regions.
"We wanted to create someone with the personality of a Bordeaux, so the character of Shizuku is very cheerful and friendly," Yuko continues. "On the other hand, we wanted an opposite type to balance him out. So we made up Issey, who is modeled on the wines of Burgundy. He's more complex."
Shizuku was the original protagonist of the drama: a young wine neophyte who is given the challenge of discovering 12 legendary wines when his father, a wine critic, dies suddenly. Shizuku's father has made Issey, a wine expert, into Shizuku's rival by adopting him. Whichever son succeeds in finding the bottles inherits the father's valuable collection of rare vintages.
Yuko and Shin Kibayashi have cowritten the manga "Kami no Shizuku (The Drops of the Gods)" under the pen name of Tadashi Agi since 2004.
Though Shizuku was supposed to be the hero of the manga, Issey's character was developed in response to letters from fans.
"Women love these lonely characters," says Shin. "But Shizuku, like the reader, doesn't know much about wine, so they can discover wine knowledge with him.
"We've had an especially strong effect in South Korea," he says. "Soon after our book was published there, people started reading it like a textbook to learn about wine."
The manga is also published in China and Taiwan, where, when a wine is featured, sales increase. Bottles of Colli di Conegliano Rosso Contrada di Concenigo saw an increase of 30 percent after a mention.
"We are pleased to recommend wine to people. But the bad thing is when the price goes up because we recommend one," says Shin. "We recommend cheap wines and also expensive ones, but if it's not tasty we don't include it."
For French readers, the real draw is the huge bias the manga has toward the wines of France.
"French wine is made to very strict rules," points out Shin. "For example, whether it's a good or bad year, the practice of putting a sheet over the vines to protect them from the rain is forbidden."
"In America, they are only concerned with producing healthy grapes, like a factory," continues Yuko. "They don't trust in nature. When it doesn't rain, they water the fields, and when it rains too much, they cover the fields."
Doubtless, the French won't have a problem with the Kibayashi's bias toward the country. What might be more problematic is the colorful language employed to describe the wines.
"The first wine in (the French version of) the manga, Les Amours Chambourd Musigny, 1999, we described as being like walking in a quiet forest and being followed by two butterflies,"
says Shin. "One we're writing now is a description of the feeling you get after climbing the summit of the Matterhorn and you look down at the ground," adds Yuko.
French-wine expert Tim Johnston, who owns Juveniles bar in Paris, wasn't sure if the French — given such off-the-wall descriptions — could swallow the manga.
"It doesn't seem to me like a serious art form, and the French are so stuffy about wine,"
says Johnston. "I can't see it going down well with the establishment."
If the manga manages to break through these barriers to become a success in France, it will pave the way for an Italian edition. For now the signs are positive.
"We exhibited at Paris Book Fair last month and had a great welcome from the public," says publisher Ferrand. "We sold all 300 volumes of the manga that we had at our booth in three days."
Another French-wine expert, Michel Dovaz, who wrote the introduction to the French edition, obviously supports it.
"I think the manga demystifies wine a little," says Dovaz. "If we take wine too seriously, we can take the joy out of it."
Bringing your own As well as entertaining at home, authors Yuko and Shin Kibayashi love to dine out. They are — not surprisingly — particularly fond of restaurants where you are allowed to bring your own bottle. Yuko recommended her favorite such eatery.
"I love Kagurazaka and Bar Poisson Seafood Dining in Idabashi," she says. "The owner is a wine aficionado and has traveled all around Burgundy. He is also excellent at wine tasting. Although the restaurant allows BYOB (Bring Your Own Bottle), the wines in the restaurant itself are reasonably priced and taste wonderful." Expect to pay ¥4,000-7,000 per person for meals — and an extra ¥2,500 corkage charge for the privilege of opening your own bottle.
พี่น้องยูโกะและชิน คิบายาชิ ผลักดันตลาดการค้าด้วยน้ำหมึก โดยFelicity Hugh
การที่ได้ทราบมาว่า Mont peratปี ๒๐๐๑ นั้นได้รับการกล่าวขวัญถึง ว่าเปรียบเสมือนการแสดงคอนเสิร์ตดนตรีร๊อคของวงควีน ก็เพียงพอที่จะทำให้ชาวฝรั่งเศสที่มีความนับถือตนเอง
พ่นลมออกจากจมูกด้วยความเย้ยหยันได้แล้ว แต่ผลกระทบอันมากมายจากการ์ตูนที่มิเนื้อเรื่องเกี่ยวกับไวน์ เรื่อง kami no shisuku ( the drop of God)ทีมีผลต่อยอดการจำหน่ายไวน์ไปทั่วเอเชียนั้น ไม่ใช่สิ่งที่สามารถมองข้ามได้โดยง่าย เพียงสองวันหลังจากการ์ตูนเรื่องดังกล่าวถูกวางจำหน่าย ผู้ส่งออกไวน์ชาวไต้หวันสามารถจำหน่ายไวน์ได้ถึงห้าสิบลังเลยทีเดียว ดังนั้นเมื่อฉบับแปลเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ
Les Gouttes de Dieuได้รับการตีพิมพ์ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
การ์ตูนเรื่องนี้ก็ได้รับความสนใจจากบรรดาสื่อต่างๆอย่างมากมาย เรามีทึมงานจากโทรทัศน์ฝรั่งเศสในญี่ปุ่นที่เตรียมพร้อมที่จะทำการสัมภาษณ์ผู้เขียนการ์ตูนเรื่องนี้ถึงยอดการจำหน่ายไวน์ในญี่ปุ่นที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของการ์ตูนเรื่อง Drop of God ซึ่งคาดว่ายอดขายจะเพิ่มมากขึ้นถึง20%เลยทีเดียว Stephane Ferrandแห่งสำนักพิมพ์ Glenet ช่างภาพเพิ่งจะเก็บที่ครอบหูฟังเมื่อหนังสือTimesของญี่ปุ่นเดินทางมาถึงเพื่อสัมภาษณ์ ยูโกะและ ชิน คาบายาชิ ที่เขียนการ์ตูนเรื่องนี้ร่วมกันโดยใช้นามปากกาว่าTashi Agi
การสัมภาษณ์เกิดขึ้นที่บ้านของ ชินเพื่อเป็นการรวบรวมจิตวิญญาณของการ์ตูนเรื่องนี้โดยการผสมผสานกับลักษณะแบบยุโรปอันแสนคลาสสิคเข้ากับอีกด้านที่เป็นด้านร่วมสมัย มีแกรนต์เปียโนขนาดใหญ่ตั้งอยู่ที่มุมหนึ่งของห้องและอีด้าานหนึ่งเป็นจอโทรทัศน์ขนาดใหญ่เพื่อใช้ชมภาพยนตร์
คนหนุ่มสาวชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะไม่คอยมีโอกาสได้สัมผัสกับวัฒนธรรมแบบยุโรป แต่เมื่อเราโตขึ้นเราก็จะค่อยๆซึมซับรับอิทธิพลแบบนั้นมา ชินผู้ซึ่งอยู่ในอิริยาบทสบายๆโดยการทอดแขนของเขาพาดไปตามโซฟาหนังขนาดใหญ่ที่สามารถนั่งได้ถึงสิบห้าคนกล่าวขึ้น คุณแม่ของเราเป็นศิลปินและคุณปู่ของเรามักจะสอนวิธีการทำอาหารฝรั่งเศสให้แก่เรา เมื่อเรายังอยู่โรงเรียนอนุบาล ท่านมักจะพาเราไปร้านอาหารฝรั่งเศสอยู่เสมอ
นี่คือห้องที่คนทั้งคู่ใช้ในการวางพล็อตในแต่ละตอนของการ์ตูน ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายสัปดาห์ที่ชื่อ Morningในปี ๑๐๐๔ และพวกเขามักจะมาสังสรรค์เฮฮากันในห้องนี้ ก่อนที่จะมาร่วมงานกับพี่สาว ชินนั้นทำงานในวงการโทรทัศน์ เขามีบุคลิก ที่คล้ายกับคนที่คุ้นเคยกับการรับมือกับบรรดาสื่อต่างได้อย่างดี ยูโกะก็ไม่มีที่ท่าวุ่นวายเลยเมื่อได้อยู่ท่ามกลางสื่อ เธอแต่งกายตามสบายและดูสะดุดตา การแต่งหน้าของเธอทำให้เธอดูมีราศีและมีอำนาจ พวกเขาทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ความโน้มเอียงของเธอจะเป็นเครื่องถ่วงสมดุลได้อย่างดีกับจินตนาการอันล่องลอยของเขา
ในขณะที่เราดื่มไวน์ เรามักจะเล่นเกมส์การหาคำแปลกๆกันเพื่อใช้ในการบรรยายประสบการณ์ความรู้สึกที่เรามีต่อตอนนั้น เรามักจะไม่ใช้คำที่บรรดาซอมเมอเลียร์ นิยมใช้กัน แต่เราจะใช้จินตนาการเพื่อทำให้มันดูน่าอร่อย เช่น นี่มันไวน์ตัวผู้หรือไวน์ตัวเมีย เป็นต้น
ตัวละครเอกทั้งสองตัวจะมีบุคลิกของตัวเองโดยใช้ลักษณะของไวน์เป็นตัวกำหนด เราอยากจะสร้างตัวละครที่ที่มีบุคลิกแบบไวน์ยี่ห้อBordeux ดังนั้นบุคลิกของ shisuku จึงดูร่าเริงและเป็นมิตร ในทางตรงข้ามกันเราก้ออยากจะสร้างตัวละครอีกตัวที่มีบุคลิกตรงกันข้ามกับตัวแรกเพื่อให้ถ่วงดุลกัน Isseyจึงมีลักษณะแบบไวน์Bergundy เขาจึงมีบุคลิกที่ค่อนข้างซับซ้อน
Shisukuนั้นถูกวางตัวให้เป็นตัวละครฝ่ายดี เขาเป็นนักดื่มไวน์รุ่นใหม่ที่ได้รับการท้าทายให้เสาะหาไวน์ในตำนานสิบสองชนิดเมื่อบิดาของเขา ซึ่งเป็นนักวิจารณ์ไวน์เสียชิวิตอย่างกะทันหัน บิดาของเขาได้สร้างให้ Issey ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องไวน์กลายมาเป็นคู่แข่งของเขา โดยได้รับเขาเป็นบุตรบุญธรรม บุตรคนใดที่สามารถหาไวน์ครบทั้งสิบสองชนิดนี้ก่อนก็จะได้รับมรดกเป็นไวน์ที่หายากและมีราคาสูงที่บิดาสะสมไว้ ถึงแม้ว่าshisukuนั้นจะเป็นตัวเอกของเรื่องแต่ตัวละคร Issey นั้นถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองต่อการเรียกร้องของแฟนๆ ชินกล่าวว่า ผู้หญิงส่วนใหญ่มักจะรักตัวละครที่โดดเดี่ยวนี้ แต่ตัวshisukuนั้นคงคล้ายๆกับผู้อ่านที่ไม่ค่อยรู้เรื่องของไวน์นัก ดังนั้นผู้อ่านก็จะได้เรียนรู้เรื่องไวน์ไปพร้อมๆกันกับเขา เรามีอิทธิพลมากนะในเกาหลีใต้ ผู้คนที่นั่นอ่านการ์ตูนเรื่องนี้เหมือนอ่านตำราเรียนเรื่องไวน์เลยทีเดียว การ์ตูนเรื่องนี้ยังได้รับการตีพิมพ์ในประเทศจีนและไต้หวันด้วย ซึ่งส่งผลให้ยอดการจำหน่ายไวน์เพิ่มสูงขึ้น ไวน์COLLI DI CONNEGLIANA Rosa Contrada de concenigoนั้นมียอดการจำหน่ายสูงขึ้นถึง30%เลยทีเดียวหลังจากที่ได้รับการกล่าวถึงในการ์ตูนเรื่องนี้
เรามักจะดีใจที่ได้แนะนำคนให้รู้จักกับไวน์แต่ข้อเสียก็คือ เมื่อเราแนะนำไวน์ใด ชนิดนั้นก็จะมีราคาสูงขึ้น เราจึงแนะนำทั้งไวน์ราคาถูกและราคาแพง แต่ถ้าเป็นไวน์ที่รสชาติที่ไม่ดีเราก็จะไม่แนะนำ
ชินยังกล่าวอีกวา ไวน์ฝรั่งเศสนั้นมักจะมีข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเช่น ไม่ว่าปีนั้นจะดีหรือไม่ดีก็ตาม ก็จะไม่มีการคลุมต้นองุ่นเพื่อกันฝนอย่างเด็ดขาด แต่ในอเมริกา เขาสนใจเฉพาะการปลุกต้นองุ่นที่แข้งแรงเท่านั้น เขาไม่มีความวางใจในธรรมชาติ เมื่อฝนไม่ตกเขาก็จะรดน้ำต้นองุ่น แต่ถ้าฝนตก เขาก็จะเอาผ้ามาคลุมต้นองุ่นไว้ แน่นอนชาวฝรั่งเศสคงจะไม่มีอคติกับแนวคิดแบบนี้ของ
คิบายาชิ แต่สิ่งที่จะเป็นปัญหาคือภาษาที่มีสีสันที่ใช้ในการบรรยายเรื่องนี้
ยูโกะ กล่าวว่าไวน์ชนิดแรกในการ์ตูนคือ Les Amours Chambourd Musigny ปี ๑๙๙๑ นั้น เราบรรยายไว้ว่าเหมือนกับการเดินเข้าไปในป่าอันเงียบสงบและมีผีเสื้อบินตามสองตัว
เอยังกล่าวอีกว่า ครั้งหนึ่งเรายังบรรยายอีกว่าเหมือนความรู้สึกเมื่อคุณปีนไปถึงยอดเขาMattherhornและคุณมองลงมายังพื้นดิน
ทิม จอห์นสตัน ผู้เชี่ยวชาญไวน์ชาวฝรั่งเศสที่เป็นเจ้าของบาร์ชื่อJuvenileในกรุงปารีส กล่าวว่า ผมไม่คอ่ยแน่ใจนักว่าภาษาที่มีสีสันฉูดฉาดแบบนี้ ชาวฝรั่งเศสจะรับได้หรือไม่ มันดูไม่เหมือนงานศิลปะสำหรับผมและชาวฝรั่งเศสก็ค่อนข้างจะเข้มงวดกับเรื่องที่เกี่ยวกับไวน์ ผมจึงไม่คิดว่ามันจะไปได้ด้วยดีกับการทำแบบนี้
ถ้าหากการ์ตูนเรื่องนี้จะสามารถฝ่ากำแพงที่ว่านี้ไปได้ก็จะประสบความสำเร็จอย่างแน่นอน และยังจะต้องใช้หนทางแบบนี้ในการกรุยทางในการตีพิมพ์ฉบับที่แปลเป็นภาษาอิตาลีอีกด้วย เพราะในขณะนี้สัญญาณตอบรับเริ่มเป็นไปในทางบวกสำนักพิมพ์Ferrand กล่าวว่า เราได้จัดนิทรรศการที่งานParis Book fairเมื่อปีที่แล้วและเราได้รับการตอบสนองจากสาธารณชนเป้นอย่างดี เราสามารถจำหน่ายหนังสือเล่มนี้ได้ถึงสามร้อยเล่มในช่วงเวลาสามวันที่
เราไปเปิดบูธ Doyaz ผู้เชี่ยวชาญเรื่องไวน์ที่เป็นผุ้เขียนคำนำให้หนังสือเล่มนี้ กล่าวสนับสนุนว่า ผมคิดว่าการ์ตูนเรื่องนี้ได้ไขความกระจ่างในเรื่องไวน์ได้อย่างเล็กน้อย ถ้าหากเราคิดเรื่องไวน์อย่างจริงจัง การ์ตูนเรื่องนี้จะสามารถให้ความบันเทิงได้ พกไวน์ของคุณไปเอง
นอกจากจะชอบสังสรรค์ที่บ้านแล้ว ชินและยูโกะ ยังชอบไปรับประทานอาหารนอกบ้านอีกด้วย ทั้งคู่ชอบไปร้านอาหารที่คุณสามารถนำไวน์ไปเองได้ ยูโกะได้แนะนำบางร้านที่เธอชอบไปดังนี้ ฉันชอบร้าน คากุระซากะและร้าน Bar Poisson Seafood Dinning ในไอดาบาชิ เจ้าของร้านเป็นผู้หลงใหลในไวน์และเขาเคยเดินทางไปทั่วแคว้นเบอร์กันดีอีกด้วย ถึงแม้ว่าร้านนี้จะเป็นแบบที่อนุญาตให้นำไวน์มาเองBYOB = bring Your Own Bottle แต่ราคาไวน์ในร้านนี้ก็ไม่แพงและมีรสชาติดีอีกด้วย ราคาอาหารก็ตกประมาณมื้อละสี่พันถึงเจ็ดพันเยน และต้องจ่ายค่าเปิดจุกคอร์ก Cork Surchargeเพิ่มเติมอีกสองพันห้าร้อยเยน
No comments:
Post a Comment